![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
|||||||
![]() |
![]() |
|||||||||
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
||||
![]() |
![]() |
|||||||||
![]() |
![]() |
|||||||||
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
||||||
![]() |
![]() |
![]() |
||||||||
![]() |
![]() |
![]() |
||||||||
![]() |
![]() |
![]() |
||||||||
Sternocleidomastoid muscle กล้ามเนื้อมัดนี้ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของขากรร ไกรล่างโดยตรง แต่มักมีอาการร่วมกับ TMDs และเป็นกล้ามเนื้อ ที่คลำได้ง่ายการคลำจะคลำทีละด้านหรือคลำด้านซ้ายและขวา พร้อม ๆ กันโดยเริ่มที่บริเวณ insertion ของกล้ามเนื้อมัดนี้คือ ที่ outer surface ของ mastoidprocess ด้านหลังหู แล้วคลำไล่ ลงมาตามความยาวของกล้ามเนื้อมาสิ้นสุดที่ orgin ใกล้กับ clavicle ขณะคลำถามความรู้สึกของผู้ป่วย และตรวจหา trigger points ด้วย เพราะถ้าพบ trigger points ที่กล้ามเนื้อมัดนี้มักจะมี referred pain ไปที่ temporal , joint และบริเวณที่หู |
![]() |
|||||||||
![]() |
![]() |
|||||||||
![]() |
![]() |
|||||||||
![]() |
![]() |
|||||||||
![]() |
![]() |
|||||||||
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |